วันพฤหัสบดีที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2554

ชนิดผลไม้ต่างประเทศ

ไฟล์:Psidium guajava fruit.jpg

เกรปฟรุต เป็นไม้ผลกึ่งเขตร้อนในสกุล Citrus ที่เพาะปลูกเพื่อเก็บเกี่ยวผล ซึ่งแต่เดิมเคยเรียกว่า "ผลไม้ต้องห้าม" แห่ง Barbados
ปกติแล้วไม้ไม่ผลัดใบชนิดนี้จะพบว่าสูงประมาณ 5-6 เมตร แต่ความจริงแล้วสามารถสูงได้ถึง 13-15 เมตร ใบมีสีเขียวเข้ม รูปร่างยาว (มากกว่า 15 เซนติเมตร) และผอม ดอกมี 4 กลีบ สีขาว ขนาด 5 เซนติเมตร ผลมีเปลือกสีเหลือง รูปกลมแป้น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10-15 เซนติเมตร เนื้อผลแบ่งเป็นกลีบ สีเหลืองแบบกรด
ผลเป็นที่นิยมตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 19 ก่อนหน้านั้นเพียงแต่ปลูกเป็นไม้ประดับ สหรัฐอเมริกากลายเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ มีสวนอยู่ในฟลอริดา เท็กซัส แอริโซนา และแคลิฟอร์เนีย ในภาษาสเปน ผลไม้ชนิดนี้รู้จักในชื่อว่า Toronja หรือ Pomelo


ฝรั่ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Psidium guajava Linn.) เป็นไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ในวงศ์ Myrtaceae ต้นเกลี้ยงมัน กิ่งอ่อนเป็นสี่เหลี่ยม ยอดอ่อนมีขนสั้นๆ ใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกัน รูปใบรี ปลายใบค่อนข้างมน ดอกเป็นช่อ สีขาว ผลดิบสีเขียว กินได้ เมื่อสุกเป็นสีเหลือง
คำว่าฝรั่งในภาษาอังกฤษคือ Guava ซึ่งมาจากภาษาสเปน คำว่า Guayaba และ ภาษาโปรตุเกส คำว่า Goiaba ฝรั่งมีชื่อพื้นเมืองอื่นๆอีกคือ จุ่มโป่ (สุราษฎร์ธานี) ชมพู่ (ปัตตานี) มะก้วย (เชียงใหม่,เหนือ) มะก้วยกา (เหนือ) มะกา (กลาง,แม่ฮ่องสอน) มะจีน (ตาก) มะมั่น (เหนือ) ยะมูบุเตบันยา (มลายู นราธิวาส) ยะริง (ละว้า เชียงใหม่) ยามุ (ใต้) ย่าหมู (ใต้) และ สีดา (นครพนม,นราธิวาส)[1]

เนื้อหา

[ซ่อน]

[แก้] ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ฝรั่งเป็นไม้ยืนต้น สูง 3-10 เมตร เปลือกต้นเรียบ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีแกมขอบขนาน กว้าง 3-8 ซม. ยาว 6-14 ซม. ดอก เดี่ยวหรือช่อ 2-3 ดอก ออกที่ซอกใบ กลีบดอกสีขาว ร่วงง่าย มีเกสรตัวผู้จำนวนมาก ผลเป็นผลสด[2]

[แก้] การใช้ประโยชน์

[แก้] ด้านสมุนไพร

  • น้ำต้มใบฝรั่งสด มีฤทธิ์ทางด้านป้องกันลำไส้อักเสบ ท้องเสีย ใช้ทาแก้ผื่นคัน พุพองได้
  • น้ำต้มผลฝรั่งตากแห้ง มีฤทธิ์แก้คออักเสบ เสียงแห้ง

[แก้] พันธุ์ต่างๆ

  • ฝรั่งเวียดนาม - ลูกใหญ่กว่าฝรั่งพื้นบ้าน ถึง 2 - 3 เท่า ถูกนำเข้าจากเวียดนามมาปลูกที่สามพรานเมื่อ พ.ศ. 2521– 2523 [3]
  • ฝรั่งกิมจู - เป็นฝรั่งไร้เมล็ด สีนวลสวย รสหวานกลมกล่อม กรอบ [4]
  • ฝรั่งกลมสาลี่- เป็นพันธ์แรกๆที่นิยมปลูกกันมาก ต่อมามีพันธ์แป้นสีทองเข้ามา จึงปลูกน้อยลงเรื่อยๆ
  • ฝรั่งแป้นสีทอง- ปลูกมากที่สุดในประเทศไทย ผลเมื่อโตเต็มที่จะขาว ฟู กรอบ เริ่มแรกปลูกที่สามพราน ภายหลังได้แพร่กระจายไปทั่ว
  • ฝรั่งไร้เมล็ด - ลักษณะลูกยาวๆ ไม่มีเมล็ด รสชาติด้อยกว่าฝรั่งแป้นสีทอง และกิมจู

[แก้] อ้างอิง

  1. ^ ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช พ.ศ. 2549
  2. ^ ฝรั่ง ข้อมูลพรรณไม้ สำนักงานโครงการอนุรักษ์พันธุ กรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
  3. ^ http://www.yaicha.net/main/print.php?type=A&item_id=19
  4. ^ http://www.komchadluek.net/2008/09/11/x_agi_b001_220044.php?news_id=220044

ผลไม้

กระทรวงสาธารณสุข เผยว่า ขณะนี้คนไทยกำลังเผชิญกับปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นเกี่ยวข้องกับสารอนุมูลอิสระ เป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดการอักเสบ การทำลายเนื้อเยื่อ เกิดต้อกระจกในผู้สูงอายุ โรคมะเร็ง โรคหัวใจและหลอดเลือด
ทั้งนี้สารที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ได้แก่ วิตามินซี วิตามินอี และเบต้าแคโรทีน ซึ่งสามารถกำจัดอนุมูลอิสระได้ โดยวิตามินซี ซึ่งละลายน้ำได้ ทำหน้าที่จับอนุมูลอิสระในเซลล์ที่เป็นของเหลว ป้องกันการถูกอนุมูลอิสระทำลาย ส่วนวิตามินอี เป็นวิตามินที่ละลายในไขมัน จะช่วยยับยั้งการเกิดอนุมูลอิสระได้ และวิตามินเอ เป็นวิตามินที่ละลายในไขมันที่อยู่ในรูปของเบต้าแคโรทีน หรือแคโรทีนอยด์ ทำหน้าที่ต้านอนุมูลอิสระ ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ยับยั้งการก่อกลายพันธุ์ ป้องกันเนื้องอก และมีความเกี่ยวข้องกับสุขภาพด้านอื่นๆ ได้แก่ ลดความเสี่ยงเกี่ยวกับการเสื่อมของตา เนื่องจากสูงอายุ และต้อกระจก รวมทั้งลดความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งบางชนิดและโรคหัวใจและหลอดเลือดได้อย่างดี
ทั้งนี้กรมอนามัยได้ศึกษาแหล่งอาหารไทยที่มีสารต้านอนุมูลอิสระทั้ง 3 ชนิด พบว่าผลไม้ที่พบสารเบต้าแคโรทีนมากที่สุด 10 อันดับแรก คือ
           
มะม่วงน้ำดอกไม้สุกมี 873 ไมโครกรัม
           มะเขือเทศราชินีมี 639 ไมโครกรัม 
           มะละกอสุก 532 ไมโครกรัม
           แคนตาลูป 217 ไมโครกรัม
           มะปรางหวาน 230 ไมโครกรัม
           มะยงชิด 207 ไมโครกรัม
           สับปะรดภูเก็ต 150 ไมโครกรัม
           แตงโม 122 ไมโครกรัม
           ส้มสายน้ำผึ้ง 101 ไมโครกรัม 
           ลูกพลับ 93 ไมโครกรัม


ผลไม้ที่มีวิตามินอีสูงสุด 10 อันดับแรก คือ

           
ขนุนหนัง 2.38 มิลลิกรัม
           มะขามเทศ 2.29 มิลลิกรัม
           มะม่วงเขียวเสวยดิบ 1.52 มิลลิกรัม
           มะเขือเทศราชินี 1.34 มิลลิกรัม
           มะม่วงเขียวเสวยสุก 1.23 มิลลิกรัม
           มะม่วงน้ำดอกไม้สุก 1.1 มิลลิกรัม
           มะม่วงยายกล่ำสุก 0.97 มิลลิกรัม
           กล้วยไข่ 0.47 มิลลิกรัม
           แก้วมังกรเนื้อสีชมพู 0.59 มิลลิกรัม
           สตรอเบอรี่ 0.54 มิลลิกรัม

ส่วนผลไม้ที่มีวิตามินซีมากที่สุด 10 อันดับแรก คือ        
         
ฝรั่งกลมสาลี่ 187 มิลลิกรัม
           ฝรั่งไร้เมล็ด 151 มิลลิกรัม
           มะขามป้อม 111 มิลลิกรัม
           มะขามเทศ 97 มิลลิกรัม
           เงาะโรงเรียน 76 มิลลิกรัม
           ลูกพลับ 73 มิลลิกรัม
           สตรอเบอรี่ 66 มิลลิกรัม
           มะละกอแขกดำสุก 55 มิลลิกรัม
           พุทธาแอปเปิล 47 มิลลิกรัม   
           ส้มโอขาวแตงกวา 48 มิลลิกรัม




กระทรวงสาธารณสุข เผยว่า ขณะนี้คนไทยกำลังเผชิญกับปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นเกี่ยวข้องกับสารอนุมูลอิสระ เป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดการอักเสบ การทำลายเนื้อเยื่อ เกิดต้อกระจกในผู้สูงอายุ โรคมะเร็ง โรคหัวใจและหลอดเลือด
ทั้งนี้สารที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ได้แก่ วิตามินซี วิตามินอี และเบต้าแคโรทีน ซึ่งสามารถกำจัดอนุมูลอิสระได้ โดยวิตามินซี ซึ่งละลายน้ำได้ ทำหน้าที่จับอนุมูลอิสระในเซลล์ที่เป็นของเหลว ป้องกันการถูกอนุมูลอิสระทำลาย ส่วนวิตามินอี เป็นวิตามินที่ละลายในไขมัน จะช่วยยับยั้งการเกิดอนุมูลอิสระได้ และวิตามินเอ เป็นวิตามินที่ละลายในไขมันที่อยู่ในรูปของเบต้าแคโรทีน หรือแคโรทีนอยด์ ทำหน้าที่ต้านอนุมูลอิสระ ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ยับยั้งการก่อกลายพันธุ์ ป้องกันเนื้องอก และมีความเกี่ยวข้องกับสุขภาพด้านอื่นๆ ได้แก่ ลดความเสี่ยงเกี่ยวกับการเสื่อมของตา เนื่องจากสูงอายุ และต้อกระจก รวมทั้งลดความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งบางชนิดและโรคหัวใจและหลอดเลือดได้อย่างดี
ทั้งนี้กรมอนามัยได้ศึกษาแหล่งอาหารไทยที่มีสารต้านอนุมูลอิสระทั้ง 3 ชนิด พบว่าผลไม้ที่พบสารเบต้าแคโรทีนมากที่สุด 10 อันดับแรก คือ
           
มะม่วงน้ำดอกไม้สุกมี 873 ไมโครกรัม
           มะเขือเทศราชินีมี 639 ไมโครกรัม 
           มะละกอสุก 532 ไมโครกรัม
           แคนตาลูป 217 ไมโครกรัม
           มะปรางหวาน 230 ไมโครกรัม
           มะยงชิด 207 ไมโครกรัม
           สับปะรดภูเก็ต 150 ไมโครกรัม
           แตงโม 122 ไมโครกรัม
           ส้มสายน้ำผึ้ง 101 ไมโครกรัม 
           ลูกพลับ 93 ไมโครกรัม


ผลไม้ที่มีวิตามินอีสูงสุด 10 อันดับแรก คือ

           
ขนุนหนัง 2.38 มิลลิกรัม
           มะขามเทศ 2.29 มิลลิกรัม
           มะม่วงเขียวเสวยดิบ 1.52 มิลลิกรัม
           มะเขือเทศราชินี 1.34 มิลลิกรัม
           มะม่วงเขียวเสวยสุก 1.23 มิลลิกรัม
           มะม่วงน้ำดอกไม้สุก 1.1 มิลลิกรัม
           มะม่วงยายกล่ำสุก 0.97 มิลลิกรัม
           กล้วยไข่ 0.47 มิลลิกรัม
           แก้วมังกรเนื้อสีชมพู 0.59 มิลลิกรัม
           สตรอเบอรี่ 0.54 มิลลิกรัม

ส่วนผลไม้ที่มีวิตามินซีมากที่สุด 10 อันดับแรก คือ        
         
ฝรั่งกลมสาลี่ 187 มิลลิกรัม
           ฝรั่งไร้เมล็ด 151 มิลลิกรัม
           มะขามป้อม 111 มิลลิกรัม
           มะขามเทศ 97 มิลลิกรัม
           เงาะโรงเรียน 76 มิลลิกรัม
           ลูกพลับ 73 มิลลิกรัม
           สตรอเบอรี่ 66 มิลลิกรัม
           มะละกอแขกดำสุก 55 มิลลิกรัม
           พุทธาแอปเปิล 47 มิลลิกรัม   
           ส้มโอขาวแตงกวา 48 มิลลิกรัม

ชนิดผลไม้